ฟอร์ม(From)
9.1ช่องรับข้อมูลต่างๆ ใน HTML
โดยปกติก่อนที่สร้างช่องรับข้อมูลต่างๆ เราจะต้องทำการสร้างฟอร์มก่อน ซึ่งฟอร์มจะทำหน้าที่เป็นที่รวมของช่องรับข้อมูลต่างๆ และที่กำหนดวิธีการส่งข้อมูล การระบุไฟล์ที่จะส่งข้อมูลไปประมวลผล
รูปแบบโค้ด HTML ของฟอร์มเป็นดังนี้
โดยปกติก่อนที่สร้างช่องรับข้อมูลต่างๆ เราจะต้องทำการสร้างฟอร์มก่อน ซึ่งฟอร์มจะทำหน้าที่เป็นที่รวมของช่องรับข้อมูลต่างๆ และที่กำหนดวิธีการส่งข้อมูล การระบุไฟล์ที่จะส่งข้อมูลไปประมวลผล
รูปแบบโค้ด HTML ของฟอร์มเป็นดังนี้
Name=ชื่อฟอร์ม ระบุชื่อของฟอร์ม ในส่วนนี้อาจจะไม่ระบุก็ได้
Method=วิธีส่งข้อมูล กำหนดวิธีการส่งข้อมูลไปยังเซิร์ฟเวอร์
ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท คือ
· Get เป็นวิธีการส่งข้อมูลที่จะนำค่าของช่องรับข้อมูลรวมไปกับ URL
· Post เป็นวิธีการส่งข้อมูลที่ต้องการให้เป็นความลับ คือจะไม่เห็นค่าของช่องรับข้อมูล
หลังจากเราได้ทำการสร้างฟอร์มซึ่งประกอบไปด้วยฟอร์มรับข้อมูลต่างๆ
แล้วลำดับถัดไปเราจะทำการเขียนโปรแกรม เพื่อทำการรับข้อมูลนำเข้าจากฟอร์ม
และนำไปประมวลผลต่อไป
จากฟอร์มรับสมัครสมาชิกข้างต้น
เมื่อผู้ใช้ทำการกรอกมูลเรียบร้อยแล้ว ต้องทำการคลิกส่งที่ปุ่มส่งข้อมูล(ตกลง) ข้อมูลของสมาชิกก็จะถูกส่งไปยังไฟล์ที่ชื่อว่า memberdata.php (ที่อยู่เซิร์ฟเวอร์) ทำการประมวลผล ซึ่งระบุไว้ที่คำสั่ง action ในบรรทัดต่อไปนี้
ในส่วนของโปรแกรม memberdata.php เราจะทำการเขียนโปรแกรมภาษา PHP เพื่อรับค่าที่ผู้ใช้นำเข้า
โดยมีหลักการง่ายๆ คือ ให้จำชื่อรับของข้อมูลแต่ละตัวจากไฟล์ HTML โดยค่าของฟอร์มรับข้อมูลแต่ละตัวจะเก็บไว้ที่ตัวแปรชื่อเดียวกับชื่อของรับข้อมูล
ดังนั้นในการแสดงผลลัพธ์ว่ามีข้อมูลนำเข้าคืออะไรเราอาจใช้คำสั่ง echo เพื่อพิมพ์ค่าของตัวแปรต่างๆ
ซึ่งตัวแปรต่างๆ เราก็เพียงเติมเครื่องหมาย $ หน้าชื่อรับช่องข้อมูลเท่านั้น
ดังนั้นโปรแกรม memberdata.php สามารถเขียนได้ดังนี้
9.3 การรวมไฟล์ HTML และ PHP
จากตัวอย่างในหัวข้อที่ผ่านมาเราจะสังเกตเห็นว่าในการประมวลผลฟอร์มรับข้อมูล
เราจะสร้างไฟล์ทีเป็นฟอร์มรับข้อมูล (HTML) และไฟล์ที่ทำการรับข้อมูลจากไฟล์ฟอร์มตัวแรก
(PHP) เพื่อนำค่าที่ส่งผ่านมาไปประมวลผลต่อไปนี้
แต่ในการเขียนโปรแกรมเราอาจจะทำการรวมไฟล์ทั้งสองเป็นไฟล์เพียงไฟล์เดียวก็ได้พิจารราลักษณะการทำงานของการรวมไฟล์
HTML และ PHP
ตัวอย่างต่อไปนี้จะแสดงฟอร์มรับข้อมูล Username และ Password ของผู้ใช้ หลังจากนั้นจะทำการแสดงผลลัพธ์ของทั้ง 2
ค่าที่ผู้ใช้กรอกลงบนฟอร์ม โดยเขียนโปรแกรมในลักษณะรวมไฟล์ HTML และ PHP ไว้ในไฟล์เดียวกัน ทำให้ลดจำนวนไฟล์ข้อมูลของระบบงานลง ดังนี้
อธิบายการทำงานของโปรแกรมนี้ได้
ดังนี้
If(!send)
ตรวจสอบว่าปุ่ม
submit (OK) ซึ่งตั้งชื่อว่า Send ถูกคลิกหรือไม่
ถ้าปุ่ม Submit ไม่ได้ถูกเลิก ตัวแปร $send จะเป็นเท็จ ดังนั้น lf(!send) จะกลายเป็นจริงก็จะทำบรรทัดคำสั่ง